K & S Associates

川島 & スワンモントリー アソシエイツ

วิเคราะห์สถานการณ์เครษฐกิจ สังคม และการเมืองเอเชียเป็นภาษาไทยด้วยมุมมองจากญี่ปุ่น สำหรับคนไทยโดยเฉพาะ

ไทยเจอ “กับดัก” ระหว่างทางพัฒนา

    พศ.2555 ประเทศไทยมี GDP เฉลี่ยต่อหัวอยู่ที่ 5480 เหรียญสหรัฐฯ การที่ประเทศไทยได้เป็นสมาชิกกลุ่มประเทศ G20 ที่มีสหรัฐฯเป็นผู้นำแสดงให้เห็นว่า ประเทศไทยผ่านการพัฒนามาเกินครึ่งทางแล้ว แม้ว่าจะเจอวิกฤติเศรษฐกิจจนเศรษฐกิจชะงักไปครั้งหนึ่ง แต่หลังจากเข้าสู่คริสตศตวรรษที่21มาก็กลับเติบโตอย่างรวดเร็วอีกครั้ง อีกเพียงไม่กี่ก้าวประเทศไทยก็จะกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้วก็ดันเกิดวิกฤติทางการเมืองจนได้ เรียกได้ว่าเป็น “กับดักการพัฒนาประเทศ”

                   ประเทศมหาอำนาจทั้งหลายใช้วิธีนำเงินไปลงทุนในประเทศกำลังพัฒนาต่างๆเพื่อจะได้ต้นทุนการผลิตที่ต่ำเช่นค่าแรง ประเทศกำลังพัฒนาก็ได้ประโยชน์จากการลงทุนของต่างชาติคือได้ความรู้และเทคโนโลยีทำให้เศรษฐกิจประเทศตนเจริญเติบโตขึ้นด้วย โดยเฉพาะเศรษฐกิจไทยที่ก้าวกระโดเต็มที่โดยไม่จำเป็นต้องคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆเองจนอาจลืมนึกถึงสิ่งที่ต้องสูญเสียไปเช่นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความเท่าเทียมกันทางรายได้ เป็นต้น

                   ภาคอุตสาหกรรมและการบริการในประเทศไทยเพิ่มขึ้นควบคู่กับการเติบโตเศรษฐกิจ ภาคส่วนเหล่านี้ก็กระจุกตัวกันอยู่แต่ในเมืองทำให้คนในชนบทต่างหาทางเข้าเมืองเพื่อทำงานซึ่งก็เจอข้อเสียเปรียบต่างๆ ทั้งโอกาสทางการศึกษาน้อยกว่าต้องไปเช่าที่อยู่อาศัยทำให้โอกาสเพิ่มฐานะยาก ในการที่จะให้ประเทศไทยก้าวข้ามไปสู่ประเทศพัฒนาแล้วได้นั้น จำเป็นต้องให้ความสำคัญประชาชนในชนบทภาคเกษตรกรรมด้วย ทั้งเรื่องคุณภาพชีวิตและโอกาสทางการศึกษาให้เท่าเทียมกับคนในเมือง ซึ่งประเทศไทยได้เพิกเฉยต่อเรื่องนี้มาตลอดทางจึงเกิดเหตุการณ์เช่นนี้ขึ้น ประเทศที่ประสบวิกฤติทางการเมืองไม่ได้มีเพียงแค่ประเทศไทย หลายๆประเทศในทวีปอเมริกาใต้ก็ประสบปัญหาเดียวกันไม่มีผิด ในสมัยการแข่งขันโอลิมปิดที่กรุงโตเกียว (คศ.1964) เม็กซิโกมีการพัฒนาประเทศพอๆกับญี่ปุ่นและมีทีท่าว่าจะนำหน้าญี่ปุ่นด้วยซ้ำ แต่ด้วยความที่เม็กซิโกพัฒนาประเทศโดยทอดทิ้งชาวเกษตรกรไว้ข้างหลัง ความเหลื่อมล้ำทางสังคมนี้เองทำให้เกิดรัฐบาลประชานิยม ผลาญคลังอย่างฟุ่มเฟือยและทุจริตต่างๆนานาตามมา อาร์เจนตินาและบราซิลก็ประสบปัญหาทำนองเดียวกัน

                   ผู้เขียนเห็นว่าการปฏิรูปเพียงระบบการเลือกตั้งเพียงอย่างเดียวไม่สามารถแก้ไขปัญหาการเมืองได้เลย จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปฎิรูป “ความเหลื่อมล้ำทางสังคม”ควบคู่ไปด้วย ทั้งเรื่องคุณภาพชีวิต โอกาสทางการศึกษาและการงานอาชีพ ซึ่งเป็นทางเดียวที่จะทำให้ประเทศไทยหลุดออกจากกับดักการพัฒนานี้ได้ หากรัฐบาลสมัยต่อไปยังเพิกเฉยต่อการแก้ไขความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจและสังคม อุ้มแต่กลุ่มคนรวยมีการศึกษาต่อไปแล้ว อาจทำให้สถานการณ์ในอนาคตเลวร้ายกว่าทุกวันนี้ก็เป็นได้

「中進国の罠」にはまったタイ

 海外出張が重なったためにしばらくお休みを頂いていたが、その間にタイの政治は大きく動いた。11月中旬から始まったインラック首相の退陣を求めるデモと混乱、議会の解散と来年2月の総選挙、そして民主党による選挙のボイコット。情勢はめまぐるしく変化している。

2012年のタイの一人当たりのGDP5480ドル。開発途上国を卒業して中進国の水準にある。米国が主導するG20のメンバーにもなっている。アジア通貨危機によって、一時、大きく落ち込んだものの、21世紀に入ってからは目覚ましい成長を続けている。先進になるのも、あと一歩である。そんな時に、政治が混乱し始めた。それは、経済成長の足を引っ張る可能性が高い。まさに「中進国の罠」である。

米国が主導する形で国際間の資本の移動が自由化され始めると、先進国の企業は安価な労働力を求めて、争って開発途上国に進出した。開発途上国の経済発展は先進国からの技術移転に依存する部分が多いのだが、わざわざ先進国に技術を学びに行かなくとも、先進国の方からやって来てくれる。開発途上国の経済発展は、従来に比べて各段に容易になった。近年のタイの経済成長もその恩恵を受けたとして良い。

21世紀入ってからの経済成長があまりにも順調であったために、タイの人々は経済が成長することを当たり前に思うようなった。しかし、これまでの成長はタイの人々の努力と言うよりも、先進国から技術がやって来たことに依存する部分が大きい。真似をしていれば、自然に成長できたのだ。

経済成長は良いことをもたらすだけではない。貧しい時代は、皆が等しく貧しかったのだが、経済が成長すると貧富の差が拡大する。

開発途上国の主な産業は農業である。タイも例外ではない。1970年頃のタイは農業国であった。そのタイでも工業部門やサービス部門が急成長した。近代における経済発展とは、農業国が工業国に変わることである。そして、工業部門やサービス部門は都市で発展する。

その結果、都市に住む人々が豊かになる。一方、農村に住み農業に従事していた人々は発展から取り残される。都市が豊かになるのを見て、一部の農民、特に若い世代が職を求めて都市に流入する。しかし、一般に農村の若者の教育水準は都市に比べて低いために、農村の若者は都市に出ても高い給料を貰うことができない。また、都市で部屋を借りることになるが、都市のアパート代は高い。そのために、農村出身者は都市に出ても、なかなか豊かになれない。

開発途上国が先進国入りするためには、ここに述べたような経済成長から取り残される農民や農村の若者を救済する必要がある。それが政治の安定につながる。

しかし、多くの国は経済成長から取り残される人々の救済に失敗する。アジア諸国より一足先に経済成長を始めた南米諸国がその典型である。東京の次にオリンピックが開かれたのはメキシコであるが、当時、メキシコは日本と同じように直ぐにも先進国入りすると思われていた。しかし、メキシコは先進国入りすることに失敗した。

先進国から技術や資本を導入することで、ある程度まで経済成長することは出来るのだが、メキシコは初期の成長において取り残される農民や農村出身の人々に成長の果実を分け与えることができなかった。その結果、政治が不安定化した。このような現象はメキシコだけではなく、アルゼンチンやブラジルでも見られた。

貧しい農民がたくさん存在する状況で選挙を行えば、農民の歓心を買うポピュリズム政権が出現することになる。そして、ポピュリズム政権は貧しい人々の心を捉えるために極端なバラマキ政策を行う。貧しい人々の多くが教育を受けていない。そのために、そのような人々の歓心を買おうとすれば、それはインテリが見れば馬鹿らしく見える政策にならざるを得ない。

タイはかつてアルゼンチンやブラジルが歩んだ道を歩み始めたようだ。インラック政権は極端なポピュリズム政策を行っているが、それは経済成長から取り残された貧しいい農民の歓心を得るためには当然の政策である。

野党は、それに不満であるのなら、経済成長の成果をインラック政権よりも効率的に農民に分け与える政策を提示すべきである。しかし、東京から見るところタイの民主党は農民が満足するような政策を提示することに失敗している。

インラック政権の退陣を求めてデモを行うだけでは問題は解決しない。こんなことを繰り返していれば、来年以降、タイの経済成長率は大きく鈍化することになろう。そして、先進国になる日は遠のくことになる

タイは「経済成長の結果として貧富の差が拡大し、それを克服できないために政治が不安定化して成長が鈍化する」と言う「中進国の罠」にはまってしまったようだ。東京から見ていると心配でならない。

20ปีที่ผ่านมาของการพัฒนาจีน ต่อจากนี้จะเป็นอย่างไร

จีนได้เดินทางมาไกลด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ที่แข็งแกร่งจนยากที่จะเปลี่ยนระบบการเมืองได้ดังที่กล่าวไว้ในฉบับที่แล้วว่า รัฐบาลจีนพยายามปฎิรูปเศรษฐกิจและการเมือง สิ่งเหล่านั้นไม่มีทางเกิดขึ้นได้เลย แต่แล้วจีนจะเป็นอย่างไรต่อจากนี้ แม้ว่าสื่อบางที่จะคาดว่าประชาชนจีนจะทนไม่ไหวกับการทุจริตและความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและโค่นล้มพรรคคอมมิวนิสต์ในที่สุด แต่ผู้เขียนกลับมองว่าแม้ความเหลื่อมล้ำจะเพิ่มขึ้นต่อไปอีก แต่บรรดาผู้ที่ฐานะการเงินแย่ก็ยังอาศัยใบบุญจากเศรษฐกิจโดยรวมที่ดี และถือว่ารวยขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับ 10 ก่อน

อีกเรื่องหนึ่งที่เห็นได้ชัดคือ สินค้าทั้งอุปโภคบริโภคมีเหลือเฟือมากแม้ว่าจะมีข่าวเกี่ยวกับคุณภาพอาหารแย่ๆออกมาเป็นระยะๆก็ตาม ประชาชนกลุ่มที่จนที่สุดก็ยังมีอาหารการกินเพียงพอต่อการดำรงชีวิต เสื้อผ้าก็หาซื้อได้ง่าย ส่วนเรื่องที่อยู่อาศัยนั้น แม้ว่าจะมีบางบ้านที่เก่าสกปรก แต่ก็ไม่ใช่เรื่องยากที่จะหาบ้านตามชนบท ที่เห็นได้ชัดคือเกษตรกรจีนในชนบทที่ห่างไกลก็ยังสามารถส่งลูกเรียนปริญญาได้ ผู้เขียนคิดว่าจะไม่เกิดเหตุการณ์ล่มสลายแบบโซเวียตเพราะสิ่งที่จีนแตกต่างจากสหภาพโซเวียตในปี 1980 คือการมีปัจจัย 4เพียงพอต่อคนส่วนใหญ่ ประชาชนมีความพึงพอใจกับสภาพชีวิตอย่างน้อยระดับหนึ่ง

อย่างไรก็ตามไม่ได้ปฏิเสธว่าจีนจะยังเป็นคอมมิวนิสต์ที่เศรษฐกิจโตต่อไป ตั้งแต่ที่จีนเริ่มเศรษฐกิจฟองสบู่นั้น รัฐบาลพยายามหมุนเงินด้วยวิธีต่างๆเพื่อป้องกันไม่ให้สถาบันการเงินล้มละลาย วิธีนี้ฟองสบู่จะไม่แตกแน่นอนถ้าจีนสามารถหมุนเงินเช่นนี้ได้ตลอดกาล แต่ต่อจากนี้เมื่อจีนติดขัดในการหมุนเงินเมื่อใด เศรษฐกิจจีนจะหยุดชะงักเป็นจุดสิ้นสุดการพัฒนาเศรษฐกิจทันที และแน่นอนว่าประเทศไทยที่พึ่งพาการส่งออกกับจันย่อมได้รับผลกระทบไปด้วยอย่างแน่นอน

中国の発展を見越した事業計画は見直しておいた方が賢明ですよ これまでの20年とは大きく変わる中国

 現代の中国には選挙によって政権が交代するシステムがない。そして、共産党の独裁下で既得権を謳歌する人々が大きな政治力を持っている。これでは、いくら口で「改革」を叫んでも「改革」が進むことなどない。

 それでは、今後、中国はどのような国になって行くであろうか。一部のマスコミは、格差に不満を持つ人々が暴動を起こすなどして共産党支配が崩壊することを予測しているが、筆者はそのような事態には発展しないと考えている。

それは、貧富の差は大きくさらに拡大し続けているが、それでも国民の多くが経済発展の恩恵を受けているからである。社会の底辺に暮らす人々も、10年前に比べれば確実に豊かになっている。

中国にはものが溢れている。食品の安全性などに問題があることは事実であるが、都市の最貧層でも食料の入手に困ることはない。また、衣服や靴などの日用品も街にあふれている。裸足で歩く人など見かけたことはない。住居費が高騰により満足な住居を得ることができないのは北京や上海など省都になっている大都市だけである。農村や地方の小さな都市に住んでいれば、それなりの家(ただし汚い)に住むことができる。農民の子供が大学に進学するケースも増えている。

多くの人が、役人の汚職や不正に腹を立てているが、なんとか暮らしている。それは、硬直した社会主義システムのために、基本的な生活物資の入手までもが困難になっていた1980年代の旧ソ連とは大きく異なる。多くの中国人は、物質的な生活にはそれなりに満足している。だから、暴力に訴えてまで政権を転覆させようと考える人は少数に留まる。これが、共産党支配が急速に崩壊することはないと考える理由である。

そうであるなら、中国はこれまで通りに発展し続けるのであろうか。その問いに対する答えはNOである。

中国の発展は日本や西欧先進国の模倣に過ぎない。そして、政権が強固であったために、開発独裁が極めて上手くいったに過ぎない。しかし、上手く行きすぎたために、強引な開発は多くの矛盾を産み出してしまった。

今後、中国はその矛盾に足を取られて、順調な経済成長を続けることが難しくなる。特に、不動産バブルは深刻な状況に至っている。中国政府はバブルが破裂しないように、困った地方政府やその周辺の組織に影で資金を供給しているようだが、それは新たな矛盾を作り出すことになる。倒産しそうな組織に無限に資金供給を続ければ、金融政策が正常に動作しなくなる。その結果、今後、長い期間にわたり中国経済は停滞してしまう可能性が高い。

中国経済の停滞はタイにも大きな影響を及ぼす。過去、20年のアジア諸国の経済成長は、中国の奇跡の成長に助けられた面も大きいためだ。タイの皆さんに忠告したい。中国が経済発展することを見込んだ事業計画は縮小した方が安全である。

จีนอยาก “ปฏิรูป” แต่ใจบอก ”ไม่”

     ไม่นานมานี้มีการประชุมสามัญครั้งที่ 3 โดยคณะกรรมการกลางรัฐบาลจีนเกี่ยวกับแผนนโยบายที่จะใช้ในอีก 5 ปีข้างหน้า โดยมีส่วนสำคัญอยู่ที่การ “ปฏิรูป”ประเทศ ในขณะที่นิตยาสาร Wall Street หรือแม้แต่ข่าวในญี่ปุ่นก็เห็นตรงกันว่าการปฏิรูปมีโอกาสเป็นไปได้น้อยมาก

                   ขณะนี้ดัชนีความเหลื่อมล้ำทางรายได้(จีนี)ภายในประเทศจีนอยู่ที่ 0.4 พอๆกับประเทศไทย นั่นแปลว่าความเป็นจริงต้องมีความเหลื่อมล้ำมากกว่านี้เพราะรัฐบาลจีนย่อมไม่กล้าเปิดเผยตัวเลขจริงที่ดูไม่ดี นอกจากนี้ยังเป็นที่กล่าวกันว่าการคอรร์รัปชั่นที่เรียกกันว่า “รายได้สีเทา” นั้นอาจมีมูลค่าสูงถึง 6 ล้านล้านหยวนต่อปี ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจหากมีประชาชนผู้ไม่พอใจกับสภาพเช่นนี้

                   ล่าสุดเกิดเหตุระเบิดขึ้นที่หน้าสำนักงานใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน และรัฐบาลสามารถจับตัวผู้ต้องสงสัยได้อย่างรวดเร็วทำให้เป็นที่สงสัยของหลายๆคนว่าอาจเป็นการจับแพะก็ได้ ก่อนหน้านี้ที่มีการประท้วงของเกษตรกรที่ถูกบังคับย้ายที่รัฐบาลก็สามารถปรามได้ทันที การปฏิรูปสังคมและเศรษฐกิจนั้นรัฐบาลมีความประสงค์เช่นนั้นจริงหรือ ผู้เขียนมีความเห็นว่ารัฐบาลจีนลึกๆแล้วไม่กล้าปฏิรูปเพราะรู้ว่าความเป็นไปได้ยากมาก ผู้เสียประโยชน์จากการปฏิรูปส่วนใหญ่มีอำนาจทางการเมืองและทางการเงินมาก เช่นผู้ที่เกี่ยวข้องกับรัฐวิสาหกิจ หรือรัฐบาลท้องถื่นที่ควบคุมการจัดสรรที่ดินต่างๆ คนกลุ่มนี้ย่อมไม่เห็นด้วยกับการปฏิรูปอย่างแน่นอน ดังนั้นถึงจะบอกว่าต้องการปฏิรูปแต่ในใจคงไม่อยากทำเท่าไรนัก

                   หากเป็นไปตามที่ผู้เขียนกล่าวไว้นั้น อนาคตของประเทศจีนย่อมไม่สามารถคาดเดาได้เลยว่าจะเกิดอะไรขึ้น เพราะเรื่องเช่นนี้ไม่เคยมีมาก่อน และเมื่อดูจากจุดยืนที่ผ่านมาของพรรคคอมมิวนิสต์จีนแล้ว สิ่งที่จะเกิดในอนาคตกับจีนคงไม่ใช่เรื่องดีแน่